ข้อมูลพื้นฐาน

1.ด้านกายภาพ

   1.1 ที่ตั้งของหมู่บ้านหรือชุมชนหรือตำบลเป็นตำบลหนึ่งของอำเภอเซกา จังหวัดบึงกาฬ มีเนื้อที่ประมาณ 50.4 ตารางกิโลเมตร หรือ  31,500 ไร่ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของอำเภออยู่ห่างจากอำเภอประมาณ 12 กิโลเมตร อาณาเขตติดต่อ ดังนี้

                   ทิศเหนือ          ติดต่อกับ       ตำบลป่งไฮ อำเภอเซกา
                   ทิศใต้              ติดต่อกับ       ตำบลหนองบัวสิม อำเภอคำตากล้า จังหวัดสกลนคร
                   ทิศตะวันออก     ติดต่อกับ       ตำบลเซกา อำเภอเซกา
                   ทิศตะวันตก      ติดต่อกับ       ตำบลท่ากกแดง อำเภอเซกา

   1.2 ลักษณะภูมิประเทศ
                   สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม  มีแม่น้ำไหลผ่านที่สำคัญคือ แม่น้ำสงคราม ลำน้ำฮี้
    1.3 ลักษณะภูมิอากาศ
                   สภาพภูมิอากาศส่วนใหญ่มี 3 ฤดู คือ ฤดูฝน ช่วงเดือนมิถุนายน – เดือนตุลาคม ฤดูหนาว ช่วงเดือนพฤศจิกายน – เดือนกุมภาพันธ์ ฤดูร้อน ช่วงเดือนมีนาคม – เดือนพฤษภาคม
    1.4 ลักษณะของดิน
                   สภาพโดยทั่วไปเป็นดินเหนียวปนทราย 

2. ด้านการเมือง/การปกครอง
   2.1 เขตการปกครององค์การบริหารส่วนตำบลหนองทุ่ม มี 13 หมู่บ้าน ดังนี้
         หมู่ที่ 1 บ้านหนองทุ่ม                หมู่ที่ 2 บ้านบึงเค็ง             
         หมู่ที่ 3 บ้านเหล่าสวนกล้วย      หมู่ที่ 4 บ้านดงตอกแป้น
         หมู่ที่ 5 บ้านโคกก่อง                 หมู่ที่ 6 บ้านหนองจิก 
         หมู่ที่ 7 บ้านกุดสิม                     หมู่ที่ 8 บ้านเหล่า 
         หมู่ที่ 9 บ้านท่าแคนงาม            หมู่ที่ 10 บ้านมงคลพัฒนา                    
         หมู่ที่ 11 บ้านปิยะชน                 หมู่ที่ 12 บ้านหนองทุ่มใต้
         หมู่ที่ 13 บ้านกุดสิมเหนือ
   2.2 การเลือกตั้ง  แบ่งเขตเลือกตั้งออกเป็น   13      เขต
          จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง    5,450  คน (ข้อมูล ณ วันที่ 21 พฤษภาคม 2562

3. ประชากร
    3.1 ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร (ข้อมูลเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 – 5 ปี และการคาดการณ์ในอนาคต)

            3.2 ช่วงอายุและจำนวนประชากร

(ข้อมูล ณ วันที่ 21 พฤษภาคม 2562)

4. สภาพทางสังคม
    4.1 การศึกษา
         -โรงเรียนประถมศึกษาสังกัด สพฐ.                      4        แห่ง
         -โรงเรียนมัธยม                                                     –         แห่ง
         -โรงเรียนอาชีวศึกษา                                            –         แห่ง
         -ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก                                             3        แห่ง
    4.2 สาธารณสุข
         -โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล                      1        แห่ง
         -ศูนย์  ศสมช.                                                        13      แห่ง
         -อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน                 142    คน
   4.3 อาชญากรรม
         –
   4.4 ยาเสพติด
         –
   4.5 การสังคมสงเคราะห์
         – ผู้มีสิทธิได้รับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ      จำนวน  802    ราย
         – ผู้มีสิทธิได้รับเบี้ยยังชีพผู้พิการ         จำนวน  275    ราย
        – ผู้มีสิทธิรับเบี้ยยังชีพผู้ป่วยเอดส์       จำนวน  12      ราย
5. ระบบบริการพื้นฐาน
    5.1 การคมนาคมขนส่ง (ทางบก, ทางน้ำ, ทางราง ฯลฯ)
         การคมนาคมติดต่อระหว่างหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัด สะดวกสบายเพราะหมู่บ้านส่วนใหญ่ตั้งอยู่ติทางหลวงแผ่นดิน สายหนองหิ้ง – บ้านแพง สำหรับเส้นทางเชื่อมระหว่าง ตำบล – หมู่บ้าน เป็นถนนลูกรัง เป็นทั้งถนนลูกรัง ถนนคอนกรีต และถนนลาดยาง  ยานพาหนะทางบก คือ รถยนต์และรถจักรยานยนต์         
         – ถนนคอนกรีต / ถนนลาดยาง     ประมาณร้อยละ    65
          – ถนนลูกรัง                                  ประมาณร้อยละ    35
    5.2 การไฟฟ้า
          –  มีไฟฟ้าใช้                             13      หมู่บ้าน
         –  ไม่มีไฟฟ้าใช้ (บางส่วน)          –         หมู่บ้าน

    5.3 การประปา
          – ระบบประปา 8 แห่ง จำนวนครัวเรือนที่ใช้น้ำประปา 1,471 ครัวเรือน
   5.4 โทรศัพท์
         – มีการให้บริการทั้งโทรศัพท์ประจำที่ครอบคลุมทุกพื้นที่ภายใต้การให้บริการของ บริษัท TOT และ 3BB มีการให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่มีเครือข่ายครอบคลุ่มพื้นที่ทั้งหมด โดยผู้ให้บริการได้แก่ AIS DTAC และ TRUE
   5.4 ไปรษณีย์หรือการสื่อสารหรือการขนส่ง และวัสดุ ครุภัณฑ์
         – ที่ทำการไปรษณีย์ (ย่อย)          จำนวน  1        แห่ง
         – ผู้ให้บริการระบบ internet       จำนวน  4        ราย

6. ระบบเศรษฐกิจ
    6.1 การเกษตร
         ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทำนา  ทำสวน  ทำไร่ ประมาณ 95 %
    6.2 การประมง
         –
    6.3 การปศุสัตว์
          ประชาชนประกอบอาชีพเลี้ยงกระบือ วัว สุกร ฯลฯ ประมาณ 1 %
    6.4 การบริการ
           -โรงแรม/รีสอร์ท                    จำนวน  1        แห่ง
           – สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง       จำนวน  3        แห่ง
    6.5 การท่องเที่ยว
           –
    6.6 อุตสาหกรรม
           –
    6.7 การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ
          –โรงขนมจีน                                            2        แห่ง
          –ปั๊มน้ำมันและก๊าซ                                  3        แห่ง
          –อู่ซ่อมรถ                                                2        แห่ง
          –โรงสีข้าว                                               16      แห่ง
          –ร้านค้า                                                   65      แห่ง
          –ร้านรับซื้อของเก่า                                 1        แห่ง
          –ร้านอินเตอร์เน็ต                                    3        แห่ง
          –ร้านซ่อมรถ                                           3        แห่ง
          –ร้านถ่ายเอกสาร                                    1        แห่ง
          –ร้านขายรถไถ                                        1        แห่ง

กลุ่มอาชีพ / วิสาหกิจชุมชน

หมู่บ้าน

1.กลุ่มอาชีพจักสาน 2. กลุ่มอาชีพเย็บผ้าห่ม 3.กลุ่มออมทรัพย์ 4.กลุ่มอาชีพเลี้ยงโคพื้นเมือง

ม.1 บ้านหนองทุ่ม

1. กลุ่มอาชีพสานตะกร้าทางมะพร้าว 2. กลุ่มอาชีพเย็บจักอุตสาหกรรม 3.กลุ่มอาชีพเลี้ยงโค-กระบือพื้นเมือง 4.กลุ่มอาชีพเลี้ยงจิ้งหรีด 5. กลุ่มรับซื้อผลผลิตทางการเกษตร

ม.2 บ้านบึงเค็ง

1. กลุ่มอาชีพทอผ้า 2. กลุ่มอาชีพผลิตปุ๋ยชีวภาพ 3.กลุ่มอาชีพเย็บผ้า

ม.3 บ้านเหล่าสวนกล้วย

1. กลุ่มอาชีพปลาส้ม – ทอผ้ามัดหมี่ 2. กลุ่มอาชีพวิสาหกิจชุมชน

ม.4 บ้านดงตอกแป้น

1. กลุ่มอาชีพทอผ้าห่มด้วยมือ 2. กลุ่มอาชีพผลิตปุ๋ยชีวภาพ

ม.5 บ้านโคกก่อง

1. กลุ่มอาชีพทอผ้าพื้นเมือง 2. กลุ่มอาชีพจักสาน 3.กลุ่มอาชีพเลี้ยงโค-กระบือพื้นเมือง

ม.6 บ้านหนองจิก

1. กลุ่มอาชีพทอผ้าพื้นเมือง 2. กลุ่มอาชีพเลี้ยงโค-กระบือพื้นเมือง

3.กลุ่มเกษตรพันธุ์ข้าว

ม.7 บ้านกุดสิม

1.กลุ่มอาชีพทอเสื่อ 2. กลุ่มอาชีพเลี้ยงโค-กระบือพื้นเมือง

 3.กลุ่มอาชีพผลิตปุ๋ยชีวภาพ 4. กลุ่มอาชีพจักเย็บผ้าอุตสาหกรรม

ม.8 บ้านเหล่า

1. กลุ่มอาชีพทอผ้าย้อมคาม 2. กลุ่มอาชีพผลิตหน่อไม้อัดปิ๊บ

ม. 9 บ้านท่าแคนงาม

1. กลุ่มอาชีพทอผ้าตีนซิ่น 2. กลุ่มอาชีพวิสาหกิจชุมชน 3.กลุ่มออมทรัพย์

ม.10บ้านมงคลพัฒนา

1. กลุ่มอาชีพวิสาหกิจชมชน 2. กลุ่มอาชีพเลี้ยงโค-กระบือพื้นเมือง

3. กลุ่มอาชีพเลี้ยงปลาในกระชัง

ม.11 บ้านปิยะชน

1 กลุ่มอาชีพปลาร้าหอม 2. กลุ่มอาชีพเลี้ยงสุกร 3. กลุ่มอาชีพเย็บผ้า

 4. กลุ่มอาชีพปลูกผักหมุนเวียน

ม.12 บ้านหนองทุ่มใต้

1. กลุ่มอาชีพสานตะกร้า 2. กลุ่มอาชีพเย็บผ้า

ม.13บ้านกุดสิมเหนือ

   6.8 แรงงาน
         แรงงานส่วนใหญ่มีความรู้ระดับมัธยมศึกษาหรือต่ำกว่า ส่วนใหญ่จะเน้นการทำเกษตรกรรม เนื่องจากบริบทของพื้นที่กึ่งชนบท

7. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
    7.1 การนับถือศาสนา
         -วัด/สำนักสงฆ์                    15      แห่ง
         -มัสยิด                                  –         แห่ง
         -ศาลเจ้า                               –          แห่ง                                           
         -โบสถ์                                  –          แห่ง
        ประชาชนประมาณร้อยละ 99 นับถือศาสนาพุทธ
    7.2 ประเพณีและงานประจำปี
          – ประเพณีแข่งเรือยาวและวันออกพรรษา
          – แห่เทียนวันเข้าพรรษา
          – งานแข่งกีฬาภายในตำบล
          – ประเพณีฮีต 12 คลอง 14
    7.3 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น
         – จักสานตะกร้า, ทอผ้าพื้นเมือง, ทอเสื่อ
         – ภาษาถิ่น ได้แก่ ภาษาอีสานและภาษาญ้อ
    7.4 สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
         – เครื่องสานพลาสติก เครื่องจักสาร ผ้าขาวม้า ผ้ามัดมี่ ปลาส้ม หน่อไม้ปี๊บ
8. ทรัพยากรธรรมชาติ
    8.1 น้ำ
           – แหล่งน้ำตามธรรมชาติ ได้แก่ น้ำสงคราม ลำน้ำฮี้
           – แหล่งเก็บน้ำ ได้แก่ บึงเค็ง ฝายห้วยข่อย
     8.2 ป่าไม้
           –
     8.3 ภูมิเขา
           –
     8.4 ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น